ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

Allopurinol tablet 100 mg (GPO)


ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย

อัลโลพูรินอล 100 มิลลิกรัม   Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย อัลโลพูรินอล 100 มิลลิกรัม


ข้อบ่งใช้ 

1.เพื่อลดกรดยูริกในเลือด

2.แพทย์อาจใช้ยานี้ด้วยเหตุผลนอกเหนือจากที่ระบุไว้ หากสงสัยให้ปรึกษาแพทย์   Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้  1.เพื่อลดกรดยูริกในเลือด 2.แพทย์อาจใช้ยานี้ด้วยเหตุผลนอกเหนือจากที่ระบุไว้ หากสงสัยให้ปรึกษาแพทย์


ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง 

1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติเคยแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้ 

2.ห้ามใช้ยานี้ ร่วมกับยา เมอร์แคปโทพิวรีน (Mercaptopurine) เอซาไทโอพรีน (Azathioprine) เพราะอาจทำให้มีผลต่อการรักษาและเกิดอันตรายได้ 

3.ระมัดระวังการใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์

4.ระมัดระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคไต   Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง  1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติเคยแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้  2.ห้ามใช้ยานี้ ร่วมกับยา เมอร์แคปโทพิวรีน (Mercaptopurine) เอซาไทโอพรีน (Azathioprine) เพราะอาจทำให้มีผลต่อการรักษาและเกิดอันตรายได้  3.ระมัดระวังการใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์ 4.ระมัดระวังการใช้ยานี้ในผู้ป่วยโรคไต


คำแนะนำในการใช้ยา 

1.ควรกินยาหลังอาหาร เพื่อป้องกันอาการไม่สบายท้อง

2.หลีกเลี่ยงการใช้ยาในช่วงที่มีอาการกำเริบของเกาต์

3.หลีกเลี่ยงการใช้ยาในผู้ที่ตรวจพบยีน HLA-B*58: 01 allele   Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา  1.ควรกินยาหลังอาหาร เพื่อป้องกันอาการไม่สบายท้อง 2.หลีกเลี่ยงการใช้ยาในช่วงที่มีอาการกำเริบของเกาต์ 3.หลีกเลี่ยงการใช้ยาในผู้ที่ตรวจพบยีน HLA-B*58: 01 allele   


อาการไม่พึงประสงค์

คลื่นไส้ อาเจียน ไม่สบายท้อง 

หากมีอาการแพ้ยา เช่น มีผื่นขึ้น เป็นไข้ ตาแดง หรือมีแผลในปาก แนะนำให้รีบกลับมาพบแพทย์   Click to listen highlighted text! อาการไม่พึงประสงค์ คลื่นไส้ อาเจียน ไม่สบายท้อง  หากมีอาการแพ้ยา เช่น มีผื่นขึ้น เป็นไข้ ตาแดง หรือมีแผลในปาก แนะนำให้รีบกลับมาพบแพทย์   


การเก็บรักษายา

ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา   Click to listen highlighted text! การเก็บรักษายา ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา


  ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร   Click to listen highlighted text! ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร  


ที่มาของข้อมูล: นริสา ตัณฑัยย์, พาขวัญ ปุณณุปูรต, วุฒิรัต ธรรมวุฒิ, ผุสดี ปุจฉาการ, นิติ โอสิริสกุล, ชัยรัตน์ ฉายากุล, บรรณาธิการ. ข้อมูลยาประชาชน : ฉลากยาเสริม และข้อมูลความปลอดภัยในการใช้ยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา ; 2561.


ขอความกรุณาผู้ใช้บริการตอบแบบสำรวจ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับฉลากยาออนไลน์ (กดเพื่อตอบแบบสำรวจ) click here to access satisfaction survey

Click to listen highlighted text!