ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

Clindamycin topical solution 1% (CLINXY)

ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย

คลินดาไมซิน ชนิดน้ำใส ทาภายนอก ความเข้มข้น 1%   Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย คลินดาไมซิน ชนิดน้ำใส ทาภายนอก ความเข้มข้น 1%


ข้อบ่งใช้

1.ใช้รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียในบริเวณผิวหนัง

2.แพทย์อาจใช้ยานี้รักษาโรคติดเชื้ออื่นนอกเหนือจากที่ระบุไว้ หากสงสัยให้ปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร   Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้ 1.ใช้รักษาการติดเชื้อแบคทีเรียในบริเวณผิวหนัง 2.แพทย์อาจใช้ยานี้รักษาโรคติดเชื้ออื่นนอกเหนือจากที่ระบุไว้ หากสงสัยให้ปรึกษาแพทย์หรือเภสัชกร


ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง

1.ห้ามใช้ในผู้ที่เคยแพ้ยานี้หรือ แพ้ส่วนประกอบของยานี้หรือยาลินโคไมซิน   Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง 1.ห้ามใช้ในผู้ที่เคยแพ้ยานี้หรือ แพ้ส่วนประกอบของยานี้หรือยาลินโคไมซิน


คำแนะนำในการใช้ยา 

ทายาลงไปที่บริเวณหัวสิวที่อักเสบหรือกำลังจะอักเสบ

ทาลงในลักษณะการแต้มเป็นจุด ๆ โดยให้ทาเช้า-เย็น หลังล้างหน้า

โดยให้แต้มยาแต้มสิวก่อนลงครีมบำรุงตัวอื่น ๆ จะช่วยให้ยาออกฤทธิ์ได้ดีขึ้น


อาการไม่พึงประสงค์

ผิวลอก ผิวบาง แสบผิว ในทางปฏิบัตินิยมใช้ยาทาปฏิชีวนะควบคู่ไปกับยา benzoyl peroxide เพื่อลดปัญหาเชื้อดื้อยา

หากเกิดอาการที่สงสัยว่าแพ้ยา เช่น บวมที่ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปาก ลมพิษ ผื่นแดง ให้หยุดยาและรีบพบแพทย์ทันที


การเก็บรักษายา

ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา   Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา  ทายาลงไปที่บริเวณหัวสิวที่อักเสบหรือกำลังจะอักเสบ ทาลงในลักษณะการแต้มเป็นจุด ๆ โดยให้ทาเช้า-เย็น หลังล้างหน้า โดยให้แต้มยาแต้มสิวก่อนลงครีมบำรุงตัวอื่น ๆ จะช่วยให้ยาออกฤทธิ์ได้ดีขึ้น อาการไม่พึงประสงค์ ผิวลอก ผิวบาง แสบผิว ในทางปฏิบัตินิยมใช้ยาทาปฏิชีวนะควบคู่ไปกับยา benzoyl peroxide เพื่อลดปัญหาเชื้อดื้อยา หากเกิดอาการที่สงสัยว่าแพ้ยา เช่น บวมที่ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปาก ลมพิษ ผื่นแดง ให้หยุดยาและรีบพบแพทย์ทันที การเก็บรักษายา ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา


  ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร   Click to listen highlighted text! ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร


ที่มาของข้อมูล: นริสา ตัณฑัยย์, พาขวัญ ปุณณุปูรต, วุฒิรัต ธรรมวุฒิ, ผุสดี ปุจฉาการ, นิติ โอสิริสกุล, ชัยรัตน์ ฉายากุล, บรรณาธิการ. ข้อมูลยาประชาชน : ฉลากยาเสริม และข้อมูลความปลอดภัยในการใช้ยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา ; 2561.


ขอความกรุณาผู้ใช้บริการตอบแบบสำรวจ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับฉลากยาออนไลน์ (กดเพื่อตอบแบบสำรวจ) click here to access satisfaction survey

Click to listen highlighted text!