ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
Colchicine tablet 0.6 mg ( KOJI)
ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย
โคลชิซีน 0.6 มิลลิกรัม Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย โคลชิซีน 0.6 มิลลิกรัม
ข้อบ่งใช้
1.เพื่อป้องกันและรักษาอาการปวดเฉียบพลันจากโรคเก๊าท์
2.แพทย์อาจใช้ยานี้ด้วยเหตุผลนอกเหนือจากที่ระบุไว้ หากสงสัยให้ปรึกษาแพทย์ Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้ 1.เพื่อป้องกันและรักษาอาการปวดเฉียบพลันจากโรคเก๊าท์ 2.แพทย์อาจใช้ยานี้ด้วยเหตุผลนอกเหนือจากที่ระบุไว้ หากสงสัยให้ปรึกษาแพทย์
คำเตือน
- อย่าใช้เกินกว่าขนาดที่ระบุ เพราะอาจทาให้ท้องเสียรุนแรง
- หยุดยาทันที หากมีอาการท้องเสีย อาเจียน หรือปวดท้อง
Click to listen highlighted text!
คำเตือน
- อย่าใช้เกินกว่าขนาดที่ระบุ เพราะอาจทาให้ท้องเสียรุนแรง- หยุดยาทันที หากมีอาการท้องเสีย อาเจียน หรือปวดท้อง
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติเคยแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้
2.ระมัดระวังการใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์
3.ระมัดระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีภาวะตับและไตบกพร่องรุนแรง Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง 1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติเคยแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้ 2.ระมัดระวังการใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์ 3.ระมัดระวังการใช้ยาในผู้ป่วยที่มีภาวะตับและไตบกพร่องรุนแรง
คำแนะนำในการใช้ยา
ควรกินยาทันทีที่เริ่มมีอาการข้ออักเสบ และหยุดยาเมื่ออาการปวดดีขึ้นหรือเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา ควรกินยาทันทีที่เริ่มมีอาการข้ออักเสบ และหยุดยาเมื่ออาการปวดดีขึ้นหรือเกิดอาการคลื่นไส้ อาเจียน
อาการไม่พึงประสงค์
ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
หากมีอาการถ่ายเหลวตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปให้หยุดยาทันที ถ้าอาการไม่ดีขึ้นควรกลับมาพบแพทย์ Click to listen highlighted text! อาการไม่พึงประสงค์ ท้องเสีย คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง หากมีอาการถ่ายเหลวตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไปให้หยุดยาทันที ถ้าอาการไม่ดีขึ้นควรกลับมาพบแพทย์
การเก็บรักษายา
ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา Click to listen highlighted text! การเก็บรักษายา ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา
ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร Click to listen highlighted text! ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร
ที่มาของข้อมูล: นริสา ตัณฑัยย์, พาขวัญ ปุณณุปูรต, วุฒิรัต ธรรมวุฒิ, ผุสดี ปุจฉาการ, นิติ โอสิริสกุล, ชัยรัตน์ ฉายากุล, บรรณาธิการ. ข้อมูลยาประชาชน : ฉลากยาเสริม และข้อมูลความปลอดภัยในการใช้ยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา ; 2561.