ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
Meloxicam tablet 7.5 mg (MELCAM)
ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย
เมล็อกซิแคม 7.5 มิลลิกรัม Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย เมล็อกซิแคม 7.5 มิลลิกรัม
ข้อบ่งใช้
ใช้รักษาอาการอักเสบปวด บวม ของกระดูกและกล้ามเนื้อ Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้ ใช้รักษาอาการอักเสบปวด บวม ของกระดูกและกล้ามเนื้อ
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติเคยแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้
2.ห้ามใช้ยาในผู้ที่เข้ารับการผ่าตัดบายพาสเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ
3.ระวังการใช้ยานี้ในหญิงมีครรภ์และหญิงให้นมบุตร
4.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพื่อลดผลข้างเคียงจากยาโดยเฉพาะอาการระคายเคืองกระเพาะอาหาร
5.มีรายงานการเกิดพิษต่อไตเมื่อใช้ยาเป็นเวลานาน Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง 1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติเคยแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้ 2.ห้ามใช้ยาในผู้ที่เข้ารับการผ่าตัดบายพาสเบี่ยงหลอดเลือดหัวใจ 3.ระวังการใช้ยานี้ในหญิงมีครรภ์และหญิงให้นมบุตร 4.หลีกเลี่ยงเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์เพื่อลดผลข้างเคียงจากยาโดยเฉพาะอาการระคายเคืองกระเพาะอาหาร 5.มีรายงานการเกิดพิษต่อไตเมื่อใช้ยาเป็นเวลานาน
คำแนะนำในการใช้ยา
1.ไม่ควรกินตอนท้องว่าง ควรกินยาหลังอาหารทันที เพื่อลดการระคายเคืองทางเดินอาหาร
2.ผู้ที่มีความดันเลือดสูง โรคไตเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือดทุกชนิด ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา 1.ไม่ควรกินตอนท้องว่าง ควรกินยาหลังอาหารทันที เพื่อลดการระคายเคืองทางเดินอาหาร 2.ผู้ที่มีความดันเลือดสูง โรคไตเรื้อรัง โรคหัวใจและหลอดเลือดทุกชนิด ควรปรึกษาแพทย์ก่อนใช้ยา
อาการไม่พึงประสงค์
หากพบอาการผิดปกติ เช่น ปวดท้อง แสบท้อง อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายดำ
ตัวหรือขาบวม ปัสสาวะออกน้อย
อาการแพ้ยา เช่น บวมที่ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปาก ลมพิษ ผื่นแดง ควรหยุดยาและกลับมาพบแพทย์ทันที Click to listen highlighted text! อาการไม่พึงประสงค์ หากพบอาการผิดปกติ เช่น ปวดท้อง แสบท้อง อาเจียนเป็นเลือด ถ่ายดำ ตัวหรือขาบวม ปัสสาวะออกน้อย อาการแพ้ยา เช่น บวมที่ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปาก ลมพิษ ผื่นแดง ควรหยุดยาและกลับมาพบแพทย์ทันที
การเก็บรักษายา
ควรเก็บยาในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา ไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อน หรือแสง Click to listen highlighted text! การเก็บรักษายา ควรเก็บยาในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา ไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อน หรือแสง
ที่มาของข้อมูล: นริสา ตัณฑัยย์, พาขวัญ ปุณณุปูรต, วุฒิรัต ธรรมวุฒิ, ผุสดี ปุจฉาการ, นิติ โอสิริสกุล, ชัยรัตน์ ฉายากุล, บรรณาธิการ. ข้อมูลยาประชาชน : ฉลากยาเสริม และข้อมูลความปลอดภัยในการใช้ยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา ; 2561. Click to listen highlighted text! ที่มาของข้อมูล: นริสา ตัณฑัยย์, พาขวัญ ปุณณุปูรต, วุฒิรัต ธรรมวุฒิ, ผุสดี ปุจฉาการ, นิติ โอสิริสกุล, ชัยรัตน์ ฉายากุล, บรรณาธิการ. ข้อมูลยาประชาชน : ฉลากยาเสริม และข้อมูลความปลอดภัยในการใช้ยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา ; 2561.
ขอความกรุณาผู้ใช้บริการตอบแบบสำรวจ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับฉลากยาออนไลน์ (กดเพื่อตอบแบบสำรวจ)