ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
ยาประสะไพล 500 mg
ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย
ยาประสะไพล 500 มิลลิกรัม
Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย ยาประสะไพล 500 มิลลิกรัม
ข้อบ่งใช้
-บรรเทาอาการปวดประจำเดือน ระดูมาไม่สม่ำเสมอ หรือมาน้อยกว่าปกติ
-ช่วยขับน้ำคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร
- Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้ -บรรเทาอาการปวดประจำเดือน ระดูมาไม่สม่ำเสมอ หรือมาน้อยกว่าปกติ -ช่วยขับน้ำคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร -
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
-ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ และห้ามใช้ในผู้หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด หรือหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังการคลอด
-ห้ามใช้ในหญิงที่มีระดูมากกว่าปกติ เพราะจะทำให้มีการขับระดูออกมากขึ้น
Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง -ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ และห้ามใช้ในผู้หญิงตั้งครรภ์ หญิงผ่าคลอด หรือหญิงที่มีเลือดออกมากผิดปกติหลังการคลอด -ห้ามใช้ในหญิงที่มีระดูมากกว่าปกติ เพราะจะทำให้มีการขับระดูออกมากขึ้น
คำแนะนำในการใช้ยา
- ถ้าหากระดูมาไม่สม่ำเสมอ หรือมาน้อยกว่าปกติ ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันนาน 1 เดือน
-กรณีที่ขับน้ำคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเกิน 15 วัน Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา - ถ้าหากระดูมาไม่สม่ำเสมอ หรือมาน้อยกว่าปกติ ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันนาน 1 เดือน -กรณีที่ขับน้ำคาวปลาในหญิงหลังคลอดบุตร ไม่ควรใช้ยานี้ติดต่อกันเกิน 15 วัน
อาการไม่พึงประสงค์
-เนื่องจากยานี้มีส่วนประกอบสมุนไพรหลายชนิด หนึ่งในนั้นคือการบูร
ซึ่งอาจทำให้เกิดพิษต่อตับและไตได้หากใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน Click to listen highlighted text! อาการไม่พึงประสงค์ -เนื่องจากยานี้มีส่วนประกอบสมุนไพรหลายชนิด หนึ่งในนั้นคือการบูร ซึ่งอาจทำให้เกิดพิษต่อตับและไตได้หากใช้ยานี้ติดต่อกันเป็นระยะเวลานาน
การเก็บรักษายา
ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา Click to listen highlighted text! การเก็บรักษายา ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา
ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร Click to listen highlighted text! ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร
ที่มาของข้อมูล
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. แนวทางการขึ้นทะเบียนผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่เป็นแบบการอ้างอิงตำรับ ยาประสะไพล [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี:สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ [เข้าถึงเมื่อ 2 มีนาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก https://www.fda.moph.go.th/Herbal/SitePages/Document/herbref/1.%20%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%B8%E0%B9%88%E0%B8%A1%E0%B8%9C%E0%B8%A5%E0%B8%B4%E0%B8%95%E0%B8%A0%E0%B8%B1%E0%B8%93%E0%B8%91%E0%B9%8C%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%88%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%AA%E0%B8%A1%E0%B8%B8%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A3%20%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B9%80%E0%B8%A0%E0%B8%97%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B9%81%E0%B8%9C%E0%B8%99%E0%B9%84%E0%B8%97%E0%B8%A2/1.1.1.1.%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A5%20%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B9%81%E0%B8%84%E0%B8%9B%E0%B8%8B%E0%B8%B9%E0%B8%A5.pdf
รุ่งระวี เต็มศิริฤกษ์กุล. บทความเผยแพร่ความรู้สู่ประชาชน ปวดประจำเดือนกับยาตำรับประสะไพล [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ:ภาควิชาเภสัชพฤกษศาสตร์ คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล; 2559 [เข้าถึงเมื่อ 2 มีนาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก https://pharmacy.mahidol.ac.th/th/knowledge/article/346/%E0%B8%A2%E0%B8%B2%E0%B8%95%E0%B8%B3%E0%B8%A3%E0%B8%B1%E0%B8%9A%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%AA%E0%B8%B0%E0%B9%84%E0%B8%9E%E0%B8%A5-%E0%B8%9B%E0%B8%A7%E0%B8%94%E0%B8%9B%E0%B8%A3%E0%B8%B0%E0%B8%88%E0%B8%B3%E0%B9%80%E0%B8%94%E0%B8%B7%E0%B8%AD%E0%B8%99/