ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร
ยาธาตุบรรจบ 500 mg
ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย
ยาธาตุบรรจบ 500 มิลลิกรัม
Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย ยาธาตุบรรจบ 500 มิลลิกรัม
ข้อบ่งใช้
-บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ
-บรรเทาอาการท้องเสียที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระที่ไม่มีมูกหรือเลือดปน
-ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้ Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้ -บรรเทาอาการอุจจาระธาตุพิการ -บรรเทาอาการท้องเสียที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ เช่น อุจจาระที่ไม่มีมูกหรือเลือดปน -ท้องเสียชนิดที่ไม่มีไข้
ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง
-ห้ามใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์
-ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้
-เนื่องจากยานี้มีส่วนประกอบของการบูร จึงอาจทำให้เกิดพิษต่อตับและไตในะระยาวได้
-ระมัดระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาแผนปัจจุบันที่มีข้อบ่งใช้ในการละลายลิ่มเลือดหรือเป็นยาต้านเกล็ดเลือด
Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง -ห้ามใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์ -ห้ามใช้ในผู้ที่มีไข้ -เนื่องจากยานี้มีส่วนประกอบของการบูร จึงอาจทำให้เกิดพิษต่อตับและไตในะระยาวได้ -ระมัดระวังการใช้ยานี้ร่วมกับยาแผนปัจจุบันที่มีข้อบ่งใช้ในการละลายลิ่มเลือดหรือเป็นยาต้านเกล็ดเลือด
คำแนะนำในการใช้ยา
***เฉพาะชนิดเม็ดลูกกลอนและแคปซูล***
-ในผู้ใหญ่ แนะนำให้รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนมื้ออาหาร เมื่อมีอาการ
-ในเด็กอายุ 6-12 ปี แนะนำให้รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนมื้ออาหาร เมื่อมีอาการ
-ในกรณีที่เกิดอาการท้องเสียที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ แนะนำให้ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์ Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา ***เฉพาะชนิดเม็ดลูกกลอนและแคปซูล*** -ในผู้ใหญ่ แนะนำให้รับประทานครั้งละ 1 กรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนมื้ออาหาร เมื่อมีอาการ -ในเด็กอายุ 6-12 ปี แนะนำให้รับประทานครั้งละ 500 มิลลิกรัม วันละ 3 ครั้ง ก่อนมื้ออาหาร เมื่อมีอาการ -ในกรณีที่เกิดอาการท้องเสียที่ไม่ได้เกิดจากการติดเชื้อ แนะนำให้ใช้ไม่เกิน 1 วัน หากไม่ดีขึ้น ควรปรึกษาแพทย์
อาการไม่พึงประสงค์
ยานี้อาจทำให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่นอาการปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได้ Click to listen highlighted text! อาการไม่พึงประสงค์ ยานี้อาจทำให้เกิดอาการผิดปกติของทางเดินอาหาร เช่นอาการปวดท้อง ท้องเดิน คลื่นไส้ เบื่ออาหาร วิงเวียนศีรษะ ใจสั่น และอาจเกิดลมพิษได้
การเก็บรักษายา
ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา Click to listen highlighted text! การเก็บรักษายา ควรเก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา
ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร Click to listen highlighted text! ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร
ที่มาของข้อมูล : ฐานข้อมูลสมุนไพร คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. ยาเถาวัลย์เปรียง [อินเทอร์เน็ต]. ขอนแก่น:คณะเภสัชศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น; ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์ [เข้าถึงเมื่อ 3 มีนาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก https://home.kku.ac.th/herbalbank/recipe/index.php/data/detail/6#:~:text=%E0%B9%81%E0%B8%A5%E0%B8%B0%E0%B8%8A%E0%B8%99%E0%B8%B4%E0%B8%94%E0%B8%A5%E0%B8%B9%E0%B8%81%E0%B8%81%E0%B8%A5%E0%B8%AD%E0%B8%99-,%E0%B8%9C%E0%B8%B9%E0%B9%89%E0%B9%83%E0%B8%AB%E0%B8%8D%E0%B9%88,%E0%B8%81%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%99%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%AB%E0%B8%B2%E0%B8%A3%20%E0%B9%80%E0%B8%A1%E0%B8%B7%E0%B9%88%E0%B8%AD%E0%B8%A1%E0%B8%B5%E0%B8%AD%E0%B8%B2%E0%B8%81%E0%B8%B2%E0%B8%A3