ข้อมูลยาสำนักอนามัย กรุงเทพมหานคร

Clofazimine 50 mg (LAMCOIN)

                    


ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย

 โคลแฟสซิมิน   Click to listen highlighted text! ชื่อสามัญทางยาภาษาไทย  โคลแฟสซิมิน  


ข้อบ่งใช้

รักษาโรคเรื้อน   Click to listen highlighted text! ข้อบ่งใช้ รักษาโรคเรื้อน


ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง 

1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้

2.ระวังการใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์

3.เลี่ยงการใช้ยานี้ในหญิงให้นมบุตร   Click to listen highlighted text! ข้อห้ามใช้และข้อควรระวัง  1.ห้ามใช้ยานี้ในผู้ที่มีประวัติแพ้ยาหรือส่วนประกอบของยานี้ 2.ระวังการใช้ยานี้ในหญิงตั้งครรภ์ 3.เลี่ยงการใช้ยานี้ในหญิงให้นมบุตร


คำแนะนำในการใช้ยา 

1.ควรกินยาพร้อมอาหาร 

2.ควรกินยาติดต่อกันจนครบตามแพทย์สั่ง   Click to listen highlighted text! คำแนะนำในการใช้ยา  1.ควรกินยาพร้อมอาหาร  2.ควรกินยาติดต่อกันจนครบตามแพทย์สั่ง   


อาการไม่พึงประสงค์ 

1.หากเกิดอาการที่สงสัยว่าแพ้ เช่น ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปากบวม หรือมีลมพิษ ผื่นแดง ให้หยุดยาและรีบพบแพทย์

2.ยานี้อาจทำให้ ผิวแห้ง สีผิวเปลี่ยนไป (สีแดงถึงสีน้ำตาลดำ) ซึ่งจะหายเป็นปกติเมื่อหยุดยา แต่อาจใช้เวลาหลายเดือนหรือหลายปี

 3.ยานี้อาจทำให้เยื่อบุอ่อน สารคัดหลั่ง หรืออุจจาระเปลี่ยนสี

4.หากกินยาแล้วเกิดอาการผิดปกติ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ลำไส้อุดตัน เลือดออกในทางเดินอาหาร ควรหยุดยา และมาพบแพทย์   Click to listen highlighted text! อาการไม่พึงประสงค์  1.หากเกิดอาการที่สงสัยว่าแพ้ เช่น ใบหน้า เปลือกตา ริมฝีปากบวม หรือมีลมพิษ ผื่นแดง ให้หยุดยาและรีบพบแพทย์ 2.ยานี้อาจทำให้ ผิวแห้ง สีผิวเปลี่ยนไป (สีแดงถึงสีน้ำตาลดำ) ซึ่งจะหายเป็นปกติเมื่อหยุดยา แต่อาจใช้เวลาหลายเดือนหรือหลายปี  3.ยานี้อาจทำให้เยื่อบุอ่อน สารคัดหลั่ง หรืออุจจาระเปลี่ยนสี 4.หากกินยาแล้วเกิดอาการผิดปกติ เช่น คลื่นไส้ อาเจียน ลำไส้อุดตัน เลือดออกในทางเดินอาหาร ควรหยุดยา และมาพบแพทย์   


การเก็บรักษายา

เก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา   Click to listen highlighted text! การเก็บรักษายา เก็บยาไว้ในที่แห้ง ไม่โดนความร้อนหรือแสง ในภาชนะบรรจุเดิมที่ได้รับมา


  ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร   Click to listen highlighted text! ข้อมูลข้างต้นเป็นข้อมูลยาสำหรับให้ประชาชนใช้ในการดูแลตนเองเบื้องต้นเท่านั้น หากมีข้อสงสัยโปรดสอบถามแพทย์ หรือเภสัชกร


ที่มาของข้อมูล

นริสา ตัณฑัยย์, พาขวัญ ปุณณุปูรต, วุฒิรัต ธรรมวุฒิ, ผุสดี ปุจฉาการ, นิติ โอสิริสกุล, ชัยรัตน์ ฉายากุล, บรรณาธิการ. ข้อมูลยาประชาชน : ฉลากยาเสริม และข้อมูลความปลอดภัยในการใช้ยา. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์เดือนตุลา ; 2561.  


ขอความกรุณาผู้ใช้บริการตอบแบบสำรวจ และให้คำแนะนำเกี่ยวกับฉลากยาออนไลน์ (กดเพื่อตอบแบบสำรวจ) click here to access satisfaction survey

Click to listen highlighted text!